จดทะเบียนบริษัท50เขตในกรุงเทพ

จดทะเบียนบริษัทเขตพระโขนง

เขตพระโขนง เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร จดทะเบียนบริษัทเขตพระโขนง  อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพใต้ รับจดทะเบียนบริษัทพระโขนง,จดห้างหุ้นส่วนจำกัดพระโขนง,รับจดห้างหุ้นส่วนจำกัด พระโขนง,ทำบัญชีพระโขนง,ทะเบียนบริษัทพระโขนง,ทะเบียนธุรกิจพระโขนง,รับตรวจบัญชีพระโขนง,จดทะเบียนบริษัทพระประแดง,จดทะเบียนบริษัทคลองเตย

 

จดทะเบียนบริษัทเขตพระโขนง,รับจดทะเบียนบริษัทพระโขนง,จดห้างหุ้นส่วนจำกัดพระโขนง,รับจดห้างหุ้นส่วนจำกัด พระโขนง,ทำบัญชีพระโขนง,ทะเบียนบริษัทพระโขนง,ทะเบียนธุรกิจพระโขนง,รับตรวจบัญชีพระโขนง,จดทะเบียนบริษัทพระประแดง,จดทะเบียนบริษัทคลองเตย

ที่ตั้งและอาณาเขต
เขตพระโขนงตั้งอยู่ทางใต้ของฝั่งพระนคร มีอาณาเขตติดต่อกับพื้นที่การปกครองต่าง ๆ เรียงตามเข็มนาฬิกา ดังนี้

ทิศเหนือ ติดต่อกับเขตคลองเตย เขตวัฒนา และเขตสวนหลวง มีแนวขอบทางซอยสุขุมวิท 52 (ศิริพร) ซอยสุขุมวิท 81 (ศิริพจน์) คลองบางนางจีน คลองขวางบน คลองสวนอ้อย แนวลำราง คลองบ้านหลาย ลำรางแยกคลองบ้านหลาย ซอยวชิรธรรมสาธิต 57 แยก 41 (พัฒนพล) ซอยวชิรธรรมสาธิต 57 (สามพี่น้อง) และซอยวชิรธรรมสาธิต 57 แยก 36 (ยาจิตร์) เป็นเส้นแบ่งเขต
ทิศตะวันออก ติดต่อกับเขตสวนหลวงและเขตประเวศ มีคลองเคล็ดเป็นเส้นแบ่งเขต
ทิศใต้ ติดต่อกับเขตบางนา มีถนนอุดมสุข ซอยอุดมสุข 29 (พุทธวิถี 1) ซอยวชิรธรรมสาธิต 32 (จุฬา 4) ซอยสุขุมวิท 101/1 (วชิรธรรมสาธิต) และคลองบางอ้อเป็นเส้นแบ่งเขต
ทิศตะวันตก ติดต่อกับอำเภอพระประแดง (จังหวัดสมุทรปราการ) มีแนวกึ่งกลางแม่น้ำเจ้าพระยาเป็นเส้นแบ่งเขต

ประวัติ
เขตพระโขนงเดิมมีฐานะเป็น อำเภอพระโขนง เป็นเขตการปกครองของเมืองนครเขื่อนขันธ์ ปรากฏชื่อเท่าที่สืบค้นได้ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2445 (เมืองนครเขื่อนขันธ์เปลี่ยนชื่อเป็นเมืองพระประแดงในปี พ.ศ. 2457 และเปลี่ยนแปลงฐานะเป็นจังหวัดพระประแดงในปี พ.ศ. 2459) ในสมัยแรกตั้งที่ว่าการอำเภออยู่ที่สามแยกวัดมหาบุศย์ (บริเวณที่คลองตันบรรจบคลองพระโขนง) แบ่งท้องที่การปกครองออกเป็น 12 ตำบล ได้แก่ ตำบลคลองเตย ตำบลคลองตัน ตำบลพระโขนง ตำบลสวนหลวง ตำบลศีรษะป่า (หัวป่า) ตำบลคลองประเวศ ตำบลทุ่งดอกไม้ ตำบลหนองบอน ตำบลบางจาก ตำบลบางนา ตำบลสำโรง และตำบลบางแก้ว จากนั้นจึงย้ายที่ว่าการอำเภอมาตั้งที่วัดสะพาน ริมทางรถไฟสายปากน้ำ เมื่อปี พ.ศ. 2459

จนกระทั่งในปี พ.ศ. 2470 ทางราชการได้โอนอำเภอพระโขนงมาขึ้นกับจังหวัดพระนครเพื่อความสะดวกในการปกครอง[4] ก่อนที่จังหวัดพระประแดงจะถูกยุบและแยกพื้นที่ไปรวมกับจังหวัดธนบุรีและจังหวัดสมุทรปราการ 5 ปี และเนื่องจากท้องที่อำเภอพระโขนงเริ่มมีสภาพเป็นชุมชน ย่านการค้า อุตสาหกรรม และที่พักอาศัยหนาแน่น ในปี พ.ศ. 2479 ทางราชการจึงได้ตั้งเทศบาลนครกรุงเทพโดยโอนพื้นที่บางส่วนของตำบลคลองเตยเข้าไปในท้องที่ และได้ขยายเขตเทศบาลออกไปครอบคลุมตำบลอื่น ๆ เกือบทั้งหมดในอำเภอภายในปี พ.ศ. 2507 ในช่วงนี้ที่ว่าการอำเภอพระโขนงได้ย้ายจากวัดสะพานมาตั้งอยู่ริมถนนสุขุมวิท (ที่ตั้งสำนักงานเขตปัจจุบัน) แล้วตั้งแต่ปี พ.ศ. 2495

ในปี พ.ศ. 2514 จังหวัดพระนครถูกรวมเข้ากับจังหวัดธนบุรี เปลี่ยนฐานะเป็นนครหลวงกรุงเทพธนบุรี และในปี พ.ศ. 2515 จึงเปลี่ยนแปลงฐานะเป็นกรุงเทพมหานคร ซึ่งได้ยกเลิกการปกครองท้องถิ่นแบบเทศบาลและสุขาภิบาล รวมทั้งเปลี่ยนการเรียกหน่วยการปกครองใหม่จากอำเภอและตำบลเป็นเขตและแขวงด้วย อำเภอพระโขนงจึงได้รับการเปลี่ยนแปลงฐานะเป็น เขตพระโขนง แบ่งออกเป็น 9 แขวงตามจำนวนตำบลที่มีอยู่เดิมก่อนการปรับปรุงรูปแบบการบริหารเมืองหลวง

ภายหลังเขตพระโขนงมีความเจริญและมีประชากรหนาแน่นขึ้น ในปี พ.ศ. 2532 กรุงเทพมหานครได้จัดตั้งสำนักงานเขตสาขาของเขตพระโขนงขึ้น 3 แห่งขึ้นดูแลท้องที่ต่าง ๆ เพื่อให้การปกครองและการอำนวยความสะดวกแก่ประชาชนเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และในปีเดียวกัน กระทรวงมหาดไทยก็ได้ยกฐานะท้องที่ของสำนักงานเขตพระโขนง สาขา 1 และสำนักงานเขตพระโขนง สาขา 2 เป็นเขตคลองเตยและเขตประเวศตามลำดับ (ส่วนท้องที่ของสำนักงานเขตพระโขนง สาขา 3 โอนไปเป็นของเขตประเวศจนกระทั่งในปี พ.ศ. 2537 จึงแยกออกไปเป็นเขตสวนหลวง)

เมื่อปี พ.ศ. 2541 มีการเปลี่ยนแปลงพื้นที่เขตพระโขนงอีกครั้ง โดยแขวงบางนาและบางส่วนของแขวงบางจากได้รับการยกฐานะเป็นเขตบางนา ท้องที่เขตพระโขนงจึงเหลือแขวงบางจากอยู่เพียงแขวงเดียว

จดทะเบียนนิติบุคคลใหม่ แค่ 2 คน ตั้งบริษัทได้ เริ่มใช้ 7 ก.พ. 66

พาณิชย์แง้มข่าวดี พระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (ฉบับที่ 23) พ.ศ. 2565 ได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้วเมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน 2565 มีผลบังคับใช้วันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2566 สาระสำคัญ ลดจำนวนผู้เริ่มก่อการจัดตั้งบริษัทจำกัดจาก 3 คน เหลือแค่ 2 คน
วันที่ 6 ธันวาคม 2565 นายสินิตย์ เลิศไกร รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ เปิดเผยว่า กรมพัฒนาธุรกิจการค้า ในฐานะหน่วยงานที่กำกับดูแลผู้ประกอบธุรกิจในการจดทะเบียนนิติบุคคล ได้เสนอพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (ฉบับที่ 23) พ.ศ. 2565 และพระราชบัญญัติกำหนดความผิดเกี่ยวกับห้างหุ้นส่วนจดทะเบียน ห้างหุ้นส่วนจำกัด บริษัทจำกัด สมาคมและมูลนิธิ (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2565

ทั้งนี้ เพื่อปรับปรุงประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 3 ลักษณะ 22 หุ้นส่วนและบริษัทให้มีความทันสมัย รองรับการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาการของเทคโนโลยี ส่งเสริมให้จัดตั้งบริษัทจำกัดได้ง่ายขึ้น เพิ่มความคล่องตัวในการประกอบธุรกิจ อีกทั้งช่วยให้บริษัทจำกัดสามารถควบรวมกิจการได้มากกว่าหนึ่งลักษณะ

ซึ่งจะเป็นการเสริมสร้างศักยภาพในการแข่งขันของประเทศและสร้างภาพลักษณ์อันดีในการประกอบธุรกิจ รองรับระบบเศรษฐกิจและสังคมดิจิทัล ประการสำคัญที่สุดคือ ช่วยลดค่าใช้จ่ายและต้นทุนการดำเนินงานให้ผู้ประกอบธุรกิจตามนโยบายของรัฐบาลอีกทางหนึ่ง

การแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ในครั้งนี้ มีประเด็นที่เปลี่ยนแปลงหลายประการ ดังนี้ 1) การยื่นขอจดทะเบียนห้างหุ้นส่วนหรือบริษัทสามารถยื่น ณ สำนักงานทะเบียนหุ้นส่วนบริษัทที่สำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ หรือตามที่รัฐมนตรีประกาศกำหนด จากเดิมสำนักงานใหญ่อยู่ในจังหวัดใดต้องจดทะเบียน ณ สำนักงานพาณิชย์จังหวัดนั้นเท่านั้น
2) รัฐมนตรีมีอำนาจกำหนด ลด หรือยกเว้นค่าธรรมเนียมการจดทะเบียน การขอตรวจเอกสาร การขอสำเนาเอกสารพร้อมคำรับรอง และค่าธรรมเนียมอื่นที่เกี่ยวกับห้างหุ้นส่วนและบริษัท หรือกำหนดค่าธรรมเนียมให้แตกต่างกันตามรูปแบบการทำธุรกรรมก็ได้ เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนใช้บริการผ่านระบบสารสนเทศมากขึ้น
3) บุคคลตั้งแต่ 2 ขึ้นไปจะเริ่มก่อการและตั้งเป็นบริษัทจำกัดก็ได้ จากเดิมต้อง 3 คนขึ้นไป 4) หนังสือบริคณห์สนธิที่จดทะเบียนไว้ หากไม่ดำเนินการจดทะเบียนบริษัทจำกัดภายใน 3 ปีสิ้นผลทันที จากเดิมที่ไม่มีอายุของการสิ้นผล ทำให้บุคคลอื่นไม่สามารถใช้ชื่อบริษัทที่ปรากฏในหนังสือบริคณห์สนธิที่จดทะเบียนไว้ได้
5) บริษัทใดมีตราประทับต้องประทับตราในใบหุ้นทุกใบ 6) ให้ธุรกิจนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้กับการประชุมกรรมการได้เพิ่มขึ้นอีกวิธีหนึ่ง นอกจากต้องมาประชุม ณ สถานที่นัดประชุมเท่านั้น 7) ยกเลิกการนำหนังสือเชิญประชุมไปลงประกาศในหนังสือพิมพ์ ยกเว้นในกรณีบริษัทจำกัดมีหุ้นชนิดออกให้แก่ผู้ถือที่ยังต้องโฆษณาในหนังสือพิมพ์ หรือในสื่ออิเล็กทรอนิกส์อยู่

 

รับจดทะเบียนบริษัทมีชาวต่าวชาติถือหุ้น

รับจดทะเบียนบริษัทต่างชาติ

การจดทะเบียนบริษัทแบบมีต่างชาติ ถือหุ้น มี 2 กรณีด้วยกัน

  1. จดทะเบียนบริษัท โดยมีคนสัญชาติอื่นที่ไม่ใช่สัญชาติไทย ถือหุ้นไม่เกิน 49%
    (เป็นบริษัทสัญชาติไทย ประกอบกิจการได้ทุกอย่างตามกฏหมายกำหนด)
  2. จดทะเบียนบริษัท โดยมีคนสัญชาติอื่นที่ไม่ใช่สัญชาติไทย ถือหุ้น 100% หรือเกิน 50%
    (เป็นบริษัทต่างด้าว  ต้องขอใบประกอบธุรกิจต่างด้าว)

จดทะเบียนบริษัทต่างชาติ , จดทะเบียบริษัทต่างด้าว , จดทะเบียนบริษัท มีต่างชาติถือหุ้น
จดทะเบียนบริษัทในจีน,จดทะเบียนบริษัทเซี่ยงไฮ้,จดทะเบียนบริษัทเซินเจิ้น,จดทะเบียนบริษัทในมาเลเซีย,จดทะเบียนบริทฮ่องกง,จดทะเบียนบริษัทในสิงคโปร์  More >>>

รับทำบัญชี ตรวจสอบบัญชี วางระบบบัญชี

บริการจัดทำแบบภาษีและนำส่งสรรพากร และประกันสังคมรายเดือน พร้อมบริการยื่นชำระภาษี
จัดทำและยื่นแบบภาษีธุรกิจประจำเดือน ได้แก่ ภาษีมูลค่าเพิ่ม (ภพ.30) ภาษีธุรกิจเฉพาะ (ภธ.40)
จัดทำและยื่นแบบภาษีเงินได้เงินเดือนและค่าแรง หัก ณ ที่จ่าย (ภงด.1)
จัดทำและยื่นแบบภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา หัก ณ ที่จ่าย (ภงด.3)
จัดทำและยื่นแบบภาษีเงินได้นิติบุคคล หัก ณ ที่จ่าย (ภงด.53)
จัดทำรายงานภาษีซื้อ และรายงานภาษีขาย
จัดทำและยื่นแบบประกันสังคม (สปส.1-10)

รับจดทะเบียนบริษัท 50 เขตในกรุงเทพฯ

จดทะเบียนบริษัทเขตบางบอน | จดทะเบียนบริษัทเขตทุ่งครุ | จดทะเบียนบริษัทเขตทวีวัฒนา | จดทะเบียนบริษัทเขตบางนา | จดทะเบียนบริษัทเขตคลองสามวา | จดทะเบียนบริษัทเขตวังทองหลาง | จดทะเบียนบริษัทเขตสะพานสูง | จดทะเบียนบริษัทเขตคันนายาว | จดทะเบียนบริษัทเขตสายไหม | จดทะเบียนบริษัทเขตหลักสี่ | จดทะเบียนบริษัทเขตบางแค | จดทะเบียนบริษัทเขตวัฒนา | จดทะเบียนบริษัทเขตลาดพร้าว | จดทะเบียนบริษัทเขตราชเทวี | จดทะเบียนบริษัทเขตดอนเมือง | จดทะเบียนบริษัทเขตจอมทอง | จดทะเบียนบริษัทเขตสวนหลวง | จดทะเบียนบริษัทเขตคลองเตย | จดทะเบียนบริษัทเขตประเวศ | จดทะเบียนบริษัทเขตบางคอแหลม | จดทะเบียนบริษัทเขตจตุจักร | จดทะเบียนบริษัทเขตบางซื่อ | จดทะเบียนบริษัทเขตสาทร | จดทะเบียนบริษัทเขตบึงกุ่ม | จดทะเบียนบริษัทเขตดินแดง | จดทะเบียนบริษัทเขตบางพลัด | จดทะเบียนบริษัทเขตราษฎร์บูรณะ | จดทะเบียนบริษัทเขตหนองแขม | จดทะเบียนบริษัทเขตภาษีเจริญ | จดทะเบียนบริษัทเขตบางขุนเทียน | จดทะเบียนบริษัทเขตบางกอกน้อย | จดทะเบียนบริษัทเขตตลิ่งชัน | จดทะเบียนบริษัทเขตคลองสาน | จดทะเบียนบริษัทเขตห้วยขวาง | จดทะเบียนบริษัทเขตบางกอกใหญ่ | จดทะเบียนบริษัทเขตธนบุรี | จดทะเบียนบริษัทเขตพญาไท | จดทะเบียนบริษัทเขตสัมพันธวงศ์ | จดทะเบียนบริษัทเขตยานนาวา | จดทะเบียนบริษัทเขตลาดกระบัง | จดทะเบียนบริษัทมีนบุรี | จดทะเบียนบริษัทเขตพระโขนง | จดทะเบียนบริษัทเขตป้อมปราบศัตรูพ่าย | จดทะเบียนบริษัทเขตปทุมวัน | จดทะเบียนบริษัทเขตบางกะปิ | จดทะเบียนบริษัทเขตบางเขน | จดทะเบียนบริษัทเขตบางรัก | จดทะเบียนบริษัทเขตหนองจอก | จดทะเบียนบริษัทเขตดุสิต | จดทะเบียนบริษัทเขตพระนคร

รับจดทะเบียนบริษัทภาคอีสาน

จดทะเบียนบริษัทอำนาจเจริญ | จดทะเบียนบริษัทอุบลราชธานี | จดทะเบียนบริษัทหนองบัวลำภู | จดทะเบียนบริษัทหนองคาย | จดทะเบียนบริษัทศรีสะเกษ | จดทะเบียนบริษัทสุรินทร์ | จดทะเบียนบริษัทสกลนคร | จดทะเบียนบริษัทเลย | จดทะเบียนบริษัทร้อยเอ็ด | จดทะเบียนบริษัทยโสธร | จดทะเบียนบริษัทมุกดาหาร | จดทะเบียนบริษัทมหาสารคาม | จดทะเบียนบริษัทบุรีรัมย์ | จดทะเบียนบริษัทบึงกาฬ | จดทะเบียนบริษัทนครราชสีมา-จดทะเบียนบริษัทโคราช | จดทะเบียนบริษัทนครพนม | จดทะเบียนบริษัทชัยภูมิ | จดทะเบียนบริษัทขอนแก่น | จดทะเบียนบริษัทกาฬสินธุ์ | จดทะเบียนบริษัทอุดรธานี

รับจดทะเบียนบริษัทภาคกลาง

จดทะเบียนบริษัทนครสวรรค์ | จดทะเบียนบริษัทอุทัยธานี | จดทะเบียนบริษัทอ่างทอง | จดทะเบียนบริษัทสระบุรี | จดทะเบียนบริษัทสุพรรณบุรี | จดทะเบียนบริษัทสุโขทัย | จดทะเบียนบริษัทสิงห์บุรี | จดทะเบียนบริษัทสมุทรสาคร | จดทะเบียนบริษัทสมุทรสงคราม | จดทะเบียนบริษัทสมุทรปราการ | จดทะเบียนบริษัทลพบุรี | จดทะเบียนบริษัทเพชรบูรณ์ | จดทะเบียนบริษัทพิษณุโลก | จดทะเบียนบริษัทพิจิตร | จดทะเบียนบริษัทอยุธยา | จดทะเบียนบริษัทปทุมธานี | จดทะเบียนบริษัทนนทบุรี | จดทะเบียนบริษัทนครปฐม | จดทะเบียนบริษัทนครนายก | จดทะเบียนบริษัทชัยนาท | จดทะเบียนบริษัทกำแพงเพชร